ระดับคุณภาพการประเมินผล
ประเด็นการประเมิน
|
ระดับคุณภาพ
|
|||
ดีมาก (4)
|
ดี (3)
|
พอใช้ (2)
|
ปรับปรุง (1)
|
|
1.การตั้งประเด็นคำถาม
|
1.ตั้งประเด็นคำถามในเรื่องที่ตนเองสนใจได้ด้วยตนเอง
2.ขอบข่าย ประเด็นคำถามชัดเจน ครอบคลุมข้อมูล ปัจจัย
หรือตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับตนเองเชื่อมโยงกับชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ
3.คำถามมีความแปลกใหม่และสร้างสรรค์ มีความเป็นไปได้ในการแสวงหาคำตอบ
|
1.ตั้งประเด็นคำถามในเรื่องที่ตนเองสนใจได้โดยมีครูชี้แนะ
2.ขอบข่าย ประเด็นคำถามชัดเจน ครอบคลุมข้อมูล ปัจจัย
หรือตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับตนเองเชื่อมโยงกับชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ
3.คำถามมีความเป็นไปได้ในการแสวงหาคำตอบ
|
1.ตั้งประเด็นคำถามในเรื่องที่ตนเองสนใจได้โดยมีครูชี้แนะ
2.ขอบข่าย ประเด็นคำถามชัดเจน ครอบคลุมข้อมูล ปัจจัย
หรือตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับตนเองเชื่อมโยงกับชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ
3.คำถามมีความเป็นไปได้ในการแสวงหาคำตอบ
|
1.ใช้คำถามที่ครูชี้แนะมากำหนดประเด็นคำถาม
|
2. การตั้ง
สมมติฐาน |
1.พูดหรือเขียนคาดคะเนคำตอบล่วงหน้าโดยอาศัยความรู้สาขาวิชาต่างๆ
2.คำตอบที่คาดคะเนหรือสมมติฐานแสดงความเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูล
ตัวแปรที่เกี่ยวข้องได้อย่างชัดเจนครอบคลุมสอดคล้องกับประเด็นคำถาม สมเหตุสมผล
มีความเป็นไปได้ในการตรวจสอบ
|
1.พูดหรือเขียนคาดคะเนคำตอบล่วงหน้าโดยอาศัยความรู้สาขาวิชาต่างๆ
2.คำตอบที่คาดคะเนหรือสมมติฐานแสดงความเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูล
ตัวแปรที่เกี่ยวข้องได้อย่างชัดเจนสอดคล้องกับประเด็นคำถาม สมเหตุสมผล
มีความเป็นไปได้ในการตรวจสอบ
|
1.พูดหรือเขียนคาดคะเนคำตอบล่วงหน้าโดยอาศัยความรู้สาขาวิชาต่างๆ
2.คำตอบที่คาดคะเนหรือสมมติฐานแสดงความเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูล
ตัวแปรที่เกี่ยวข้องบ้าง สอดคล้องกับประเด็น คำถาม สมเหตุสมผล
มีความเป็นไปได้น้อย ในการตรวจสอบ
|
1.พูดหรือเขียนคาดคะเนคำตอบล่วงหน้าโดยอาศัยความรู้สาขาวิชาต่างๆ
2.คำตอบที่คาดคะเนหรือสมมติฐานแสดงความเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูล
ตัวแปรที่ไม่สอดคล้องกับประเด็นคำถาม มีความเป็นไปได้น้อย ในการตรวจสอบ
|
3.การค้นคว้าแสวงหาคำตอบ
|
1. วางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล สืบค้นข้อมูลชัดเจนและปฏิบัติได้
วิธีการรวบรวม/สืบค้นข้อมูลเหมาะสม
2.ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้หลากหลาย
ครอบคลุมทุกประเด็นคำตอบที่คาดคะเน/สมมติฐานที่ตั้งไว้
3.มีการแลก เปลี่ยนความคิดเห็นภายในกลุ่ม โดยใช้ความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
4. มีการบันทึกข้อมูลเหมาะสมและครบทุกประเด็นตามเป้าหมาย
|
1. วางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล สืบค้นข้อมูลชัดเจนและปฏิบัติได้ วิธีการ
รวบรวม/สืบค้นข้อมูลเหมาะสม
2.ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้หลากหลาย
ครอบคลุมทุกประเด็นคำตอบที่คาดคะเน/สมมติฐานที่ตั้งไว้
3.มีการแลก เปลี่ยนความคิดเห็นภายในกลุ่ม โดยใช้ความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
4. มีการบันทึกข้อมูลเหมาะสมเฉพาะประเด็นสำคัญ
|
1. วางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล สืบค้นข้อมูลชัดเจนและปฏิบัติได้ วิธีการ
รวบรวม/สืบค้นข้อมูลเหมาะสม
2.ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ไม่หลากหลายแต่
ครอบคลุมทุกประเด็นคำตอบที่คาดคะเน/สมมติฐานที่ตั้งไว้
3.มีการแลก เปลี่ยนความคิดเห็นภายในกลุ่ม โดยใช้ความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
4. มีการบันทึกข้อมูลได้ข้อมูลประเด็นสำคัญ
|
1. วางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล สืบค้นข้อมูลชัดเจนและปฏิบัติได้ วิธีการ
รวบรวม/สืบค้นข้อมูลเหมาะสม
2.ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ไม่หลากหลายไม่ครอบคลุมทุกประเด็นคำตอบที่คาดคะเน/สมมติฐานที่ตั้งไว้
3.ไม่มีการแลก เปลี่ยนความคิดเห็นภายในกลุ่ม
4. มีการบันทึกข้อมูลไม่ตรงประเด็นสำคัญ
|
4.การสรุปองค์ความรู้
|
1. วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม
2.สังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้ได้อย่างชัดเจนมีการอภิปรายผลเปรียบเทียบเชื่อมโยงความรู้อย่างสมเหตุ
สมผล
3.นำองค์ความรู้ที่ได้ไปเสนอแนวคิดวิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
|
1. วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม
2.สังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้ได้อย่างชัดเจนมีการอภิปรายผลเปรียบเทียบเชื่อมโยงความรู้
3.นำองค์ความรู้ที่ได้ไปเสนอแนวคิดวิธีการแก้ปัญหาอย่างไม่เป็นระบบ
|
1. วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม
2.สังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้ได้อย่างชัดเจนมีการอภิปรายผลเปรียบเทียบเชื่อมโยงความรู้ไม่ชัดเจน
3.นำองค์ความรู้ที่ได้ไปเสนอแนวคิดวิธีการแก้ปัญหาอย่างไม่เป็นระบบ
|
1. ไม่มีการวิเคราะห์ข้อมูลหรือวิเคราะห์ข้อมูลไม่ถูกต้อง
2.สังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้ได้ไม่ชัดเจน
3.ไม่มีการนำองค์ความรู้ไปเสนอแนวคิดวิธีการแก้ปัญหา
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น